นาฬิกาหรอก

วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555


 
 
ม่มีเอกสารหรือหลักฐานหลงเหลือให้เห็นว่ามนุษย์เริ่มร้จักการนำปลาสวยงามมาเลี้ยงในที่เลี้ยงตั้งแต่เมื่อไรตั้งแต่ครั้งแรก แต่เป็นเชื่อแน่ว่ามนุษย์รู้จักวิธีที่จะเก็บรักษาเนื้อปลาไว้เป็นอาหารในเมื้อต่อๆไปในหลายรูปแบบ เช่น ย่าง รมควัน หมักเกลือ ฯลฯ นานก่อนจะเรียนรู้วิธีเลี้ยงปลาอย่างแน่นอน และสิ่งหนึ่งที่น่าแปลกใจก็คือ มนุษย์รู้จักการเลี้ยงปลาและฝึกเลี้ยงสัตว์หลายชนิดก่อนที่จะมาสนใจถึงการเลี้ยงปลา เช่น เช่นสุนัขที่ถูกมนุษย์จับมาเลี้ยงและฝึกให้เชื่องได้มีหลักฐานอย่างแน่ชัดว่าได้ดำเนินติดต่อกันมาไม่น้อยกว่าหมื่นปีหรือแม้แต่แพะถูกเลี้ยงมาไม่น้อยกว่าเจ็ดพันปีทีเดียว บางทีอาจเป็นไปได้มากกว่าอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อการเลี้ยงปลาอย่างเช่น บ่อ เป็นต้น ไม่หลงเหลือหลักฐานมาถึงปัจจุบันบ่อที่เก่าที่สุดเท่าที่นักโบราณคดีค้นพบคือ บ่อในยุคสุเมเรีย ซึ่งมีอายุประมาณ 4,500 ปีแล้ว
anistar_blue.gif่วนใหญ่แล้วบ่อในยุคนี้เท่าที่ค้นพบจะแย่ในศ่าสนาสถานและคาดว่าจะเกี่ยวข้องกับพิธีกรรมทางศาสนาของยุคนั้น แต่อย่างไรก็ดียังมีการค้นพบบ่อซึ่งคาดว่าเป็นกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลและมีหลักฐานว่าที่ใช้เป็นที่เก็บกักขังปลา เพื่อใช้เป็นอาหารอย่างแน่นอน และจากสภาพของบ่อที่ปรากฏให้เห็นก็มิใช่บ่อเลี้ยงหรือบ่อสำหรับเพาะพันธุ์ปลาการค้นพบทางโบราณคดียังชี้ลงไปอีกว่าชาวอัสซีเรียก็มีบ่อสำหรับกักตุนปลาเป็นอาหารสด เช่นเดี่ยวกัน img1.jpgและคาดว่าชาวบาลิโลนก็คงจะมีบ่อในทำนองเดียวกันนี้อีก ส่วนชาวอียิปต์โบราณเมื่อสามพันปีมาแล้ว มีบ่อสำหรับตกปลาเป็นอาหารนอกเหนือจากบ่อเลี้ยงปลา ปลาที่ชาวอียิปต์เลี้ยงในยุคนั้นคือปลาไน ปลาในสกุล ทิลาเปีย (สกุลปลานิล) และหลักฐานที่หลงเหลืออยู่ก็มีคันเบ็ดที่ใช้ตกปลานั่นเอง จึงเป็นที่แน่ชัดว่าการเลี้ยงปลาในยุคนั้นเป็นไปเพื่อการยังชีพ





ชาติแรกที่ร้จักการเพาะเลี้ยงปลาคือ "จีน"  และเชื่อกันว่าชาวจีนรู้จักการเลี้ยงปลาคาร์พในบ่อมาก่อนพุทธศักราชไม่น้อยกว่า 500 ปี แต่กิจการการเลี้ยงปลาคาร์พในบ่อมีการทำเป็นล่ำเป็นสันและยึดเป็นอาชีพก็เกือบพุทธศักราชที่ 500 ทีเดียว ส่วนโรมันได้ชื่อว่าเป็นชาติแรกที่รู้จักการเลี้ยงปลาทะเลในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยงความร้ทางด้านการเลี้ยงปลาในที่ จำกัดจะแพร่จากชาวโรมันไปส่กรีกและอียิปต์ต่อมาในเวลาไม่นานเพราะมีหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษรปรากฏไว้เป็นข้อความสั้นๆ ในขณะที่หลักฐานการเลี้ยงปลาทะเลของชาวโรมันก็ริเริ่มเลี้ยงปลา เพื่อใช้เป็นอาหารสดเหมือนชาวจีน รวมทั้งมีการเพาะฟักไข่ปลาให้เป็นตัวได้แสดงว่าชาวโรมันก็มีเทคนิคไม่น้อยเหมือนกัน ประมาณพุทธศตวรรษที่ 475 การเลี้ยงปลาทะเลในบ่อของชาวโรมันก็กลายเป็นแฟชั่นสำหรับเศรษฐีในยุคนั้นๆ หนังสือระบุไว้ว่ามีเศรษฐีชาวโรมันคลั่งไคล้การเลี้ยงปลาทะเลคนหนึ่งถึงกับลงทุนสร้างอุโมงผ่านภูเขาเพื่อเป็นทางลำเลียงน้ำทะเลมายังบ่อปลาในบ้าน นอกจากนี้ยังมีเรื่องเล่าถึงวิธีการลงโทษทาสในสมัยนั้นของเศรษฐีชาวโรมันคือการจับทาสโยนลงไปในบ่อ ซึ่งเลี้ยงปลาไหลทะเลเพื่อให้เป็นอาหารของปลาเศรษฐี บางคนถึงกับลงทุนทำเครื่องประดับเพชรให้กับปลาไหลทะเลที่เลี้ยงไว้ในบ้าน

   anidia_pink.gif ในยุคกลางของยุโรปตามโบสถ์หรือพระราชวังมักจะมีบ่อเลี้ยงปลาเป็นเครื่องประดับสถานที่กันแพร่หลาย แต่ยุโรปยังใช้เทคนิคระดับต่ำในการเลี้ยงดูและเพาะเลี้ยงปลาจนกระทั่งมาถึงตอนต้นของพุทธศตวรรษที่ 16 พระรูปหนึ่งในคริสศาสนาชื่อ ดอม ปินโซล เป็นบุคคลแรกที่สามารถทำการผสมเทียมปลาได้สำเร็จ แต่ยังไม่มีใครรู้มากนัก เพราะบันทึกพิมพ์ส่สาธารณะก็เมื่อปี พ.ศ. 2393 อย่างไรก็ดีท่านก็สมควรได้รับการยกย่องที่สามารถวางรากฐานผสมเทียมปลาเอาไว้ให้คนร่นหลังได้พัฒนาต่อไป


<>f_octopus_blue.gif
f_octopus_blue.gif
 anitomato_red.gifนขณะเดี่ยวกันทวีปเอเซียก็มิได้น้อยหน้าทางยุโรปเลย ชาวจีนสามารถสร้างปลาสวยงาม ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีทั่วโลกได้ นั่นคือ ปลาเงินปลาทองในยุคนี้จีนถูกปกครองโดยราชวงศ์ซุง (พ.ศ. 1503-1821) เชื่อกันว่าชาวจีนใช้ปลาไนเป็นต้นกำเนิดให้กับปลาเงินปลาทองโดยการเพาะเลี้ยงและคัดสายพันธุ์อย่างละเอียดถี่ถ้วนบวกกับความเอาใจใส่ในการเลี้ยงดูและความอดทนต่อผลสำเร็จเป็นระยะเวลาอันยาวนาน ปลาเงินปลาทองจึงถือกำเนิดขึ้นมาในเวลาไล่เลี่ยกับปลาคาร์พสีสวยเพื่อเป็นสัตว์เลี้ยงสีสวยงามที่น่ารักของมนุษย์

บรรพบุรุษของปลาคาร์พนั้นเชื่อกันว่าคือปลาไนสามัญ(Cyprinus carpio ) มีถิ่นกำเนิดในบริเวณที่เป็นประเทศอิหร่านเวลานี้ ต่อมาพ่อค้าที่เดินทางค้าขายกับตะวันออกไกลได้นำเข้ามาสู่ประเทศจีน ญี่ปุ่นและยุโรปตะวันตก เป็นเวลาหลายพันปีมาแล้ว ปลาแฟนซีคาร์พถูกเพาะพันธุ์ขึ้นมาสำเร็จในประเทศญี่ปุ่นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2368 ณ. เมืองโอจิย่า ในเขตการปกครองนิอิกาต้าชาวญี่ปุ่นสมัยโบราณเลี้ยงปลาไนเอาไว้เป็นอาหารรับประทานโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูหนาวที่อาหารเนื้อสัตว์และโปรตีนคาดแคลนมาก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น